เริ่มต้นเรียนรู้สร้างแอพด้วย Google Flutter
สร้างแอพ iOS และ Android ด้วยเนื้อหาเข้าใจง่าย พร้อม Workshop เรียนรู้ทุกขั้นตอน
ดูวิดีโอแนะนำเพื่อนๆ ในคอร์สตอนนี้มี
3,345 คน
เรียนรู้จากเริ่มต้น จนถึงได้ไฟล์พร้อมขึ้น Play Store
มาเริ่มต้นสร้าง Mobile Application ให้กับระบบ iOS และ Android ด้วย Google Flutter ที่มาแรงที่สุดแล้วในเวลานี้ ออกแบบเนื้อหาการสอนโดยโค้ชพลคนเดิม
- ผู้สนใจเริ่มต้นทำโมบายล์แอพพลิเคชั่น
- โปรแกรมเมอร์ทุกสายที่ต้องการเริ่มต้น Google Flutter อย่างเข้าใจ
⭐ พื้นฐานที่จำเป็น:
- สามารถใช้คอมพิวเตอร์ของตัวเอง สามารถลงและถอนการติดตั้งโปรแกรมได้
- ไม่จำเป็นต้องเคยทำโมบายล์แอพพลิเคชั่นมาก่อน
- หากมีประสบการณ์ในการทำเว็บ หรือโปรแกรมด้านอื่นมาก่อน ก็จะเรียนรู้ได้ไวขึ้น
- ติดตั้งโปรแกรมต่างๆ
- สอนเขียนภาษา Dart
- เข้าใจกลไกการทำงานของโมบายล์แอพ
- สร้าง User Interface จาก Widget ต่างๆ
1. 🧮 แอพนับจำนวน
- เข้าใจกลไกการสร้าง และจัดการไฟล์ในโปรเจค
- เข้าใจพื้นฐานการเขียนโปรแกรมภาษา Dart
- ได้สร้าง User Interface ด้วย Widget
- เข้าใจ และใช้งาน Widget ทั้ง Stateful และ Stateless
- จัดการ Action และ State
2. 📞 แอพโทรติดต่อหน่วยงานภายในองค์กร
- การแสดงรายการข้อมูลผู้ติดต่อ
- การแสดงชื่อและเบอร์โทรผู้ติดต่อ
- การแสดงข้อมูลแบบ dynamic
- การใช้ตัวช่วยอย่าง constructor builder
- การใช้งาน package ระบบโทรศัพท์
3. 🦠 แอพแสดงสถิติโควิด-19 ในไทย
- การเรียกข้อมูลจาก Web API
- การทำงานกับข้อมูล JSON
- การใช้ตัวแปลงข้อมูลเพื่อประหยัดเวลาทำงาน
- การสร้าง Custom Widget
- การใช้งาน Async/Await และ Future
4. 🦠 แอพ My Timeline
- เริ่มต้นสร้างแบบฟอร์ม สร้างโพสในไทม์ไลน์ใหม่
- สร้างแอพหลากหลายหน้า และจัดการด้วยระบบ Navigation
- จัดการข้อมูลด้วย State Management
- สร้างเมนูแบบ Tab และใช้งาน Tab Navigator
- เริ่มต้นใช้งานฐานข้อมูลภายในแอพ ทั้งแบบ NoSQL และ SQLite
5. แอพ Barcode & QR Code Scanner
- เรียนรู้ และติดตั้งใช้งานระบบอ่านบาร์โค้ดแบบต่างๆ และ QR Code
- การตั้งค่าระบบแสกน สำหรับ iOS และ Android
- เรียนรู้ระบบ Permission
- เรียนรู้วิธีการปรับแต่งหน้าแสกนข้อมูล
- ทดสอบอ่านบาร์โค้ดสินค้า และ QR Code ของระบบ LINE Official Account
- รองรับกลไกการใช้งานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการแสกนบาร์โค้ด และ QR Code
6. แอพลงทะเบียนหน้างานสัมมนา
- สร้างแบบฟอร์มลงทะเบียน ชื่อนามสกุล และ Email
- เรียนรู้ ทำความเข้าใจ บริการของ Firebase
- เก็บรักษา และจัดการข้อมูลบนบริการ Cloud Firestore ของ Firebase
- เปิดใช้งานกล้องถ่ายรูป เพื่อถ่ายภาพผ่านแอพพลิเคชั่น
- อัพโหลดไฟล์รูปภาพขึ้นบริการ Cloud Storage ของ Firebase
- การเรียกดูข้อมูล และรูปภาพของผู้ลงทะเบียนผ่านแอพพลิเคชั่น
- การสร้างไฟล์ APK และ AAB สำหรับระบบ Android
- การสร้างไฟล์ IPA สำหรับระบบ iOS
- แนวทางการส่งแอพขึ้น Google Play Store
- แนวทางการส่งแอพขึ้น App Store
โค้ชของคุณ
โค้ชพล, Microsoft AI MVP, นักพัฒนาซอฟต์แวร์, วิทยากร, และที่ปรึกษาด้าน Web และการพัฒนา Mobile Application แบบ Cross Platform
มีความเชื่อว่าเทคโนโลยีไม่ใช่เรื่องยาก และทุกคนสามารถเรียนรู้ได้อย่างรวดเร็ว ถ้าสามารถเข้าใจธรรมชาติ และแนวคิดที่ซ่อนอยู่เบื้องหลัง ซึ่งได้รับการพิสูจน์มาแล้วกว่า 8 ปี
ปัจจุบันโค้ชพล เป็นวิทยากร และที่ปรึกษาให้กับบริษัท และองค์กรชั้นนำมากมาย เช่น Fuji, TARAD.com, Software Park, CDG, แสนสิริ, ไทยประกันชีวิต, โตเกียวมารีนไลฟ์ประกันชีวิต เป็นต้น
เนื้อหาในหลักสูตร
-
ดูตัวอย่างคำแนะนำเบื้องต้น สำหรับคนใช้ Windows
-
ดูตัวอย่างดาวน์โหลด Flutter SDK สำหรับ Windows (1:24)
-
ดูตัวอย่างการติดตั้งและตั้งค่า Flutter SDK บน Windows (4:11)
-
ดูตัวอย่างการติดตั้ง Git Client (5:36)
-
ดูตัวอย่างการทดสอบการติดตั้ง Flutter SDK (2:08)
-
ดูตัวอย่างวิธีติดตั้ง Android Studio และ Android SDK บน Windows (7:42)
-
ดูตัวอย่างวิธีตั้งค่า Path ของ Android SDK บน Windows (4:13)
-
ดูตัวอย่างทดสอบกันหน่อย 😉. การติดตั้งโปรแกรมที่จะใช้งาน
-
ดูตัวอย่างคำแนะนำเบื้องต้นสำหรับคนใช้ macOS
-
ดูตัวอย่างดาวน์โหลด และติดตั้ง Flutter SDK บน macOS (5:21)
-
ดูตัวอย่างวิธีตั้งค่า Path ของ Flutter SDK สำหรับคนใช้ Zshell (8:52)
-
ดูตัวอย่างวิธีตั้งค่า Path ของ Flutter SDK สำหรับคนใช้ Bash shell (6:57)
-
ดูตัวอย่างติดตั้ง Android Studio และ Android SDK บน macOS (3:36)
-
ดูตัวอย่างวิธีตั้งค่า Path ของ Android SDK บน macOS (6:41)
-
ดูตัวอย่างวิธีการติดตั้ง Xcode (1:07)
-
เริ่มเรียนวิธีสร้าง Android Virtual Device (6:43)
-
เริ่มเรียนทดสอบแอพพลิเคชั่นบน Android Virtual Device (3:52)
-
เริ่มเรียนทดสอบกันหน่อย 😉 การทดสอบแอพพลิเคชั่นบน Android Emulator
-
ดูตัวอย่างทำความเข้าใจการทดสอบแอพบนอุปกรณ์ Android (1:47)
-
เริ่มเรียนการปลดล๊อค Developer Option ให้ Android ต่อกับ VSCode ได้ (1:47)
-
เริ่มเรียนแนวทางการหา และติดตั้ง USB Driver (0:37)
-
เริ่มเรียนการเชื่อมต่อระบบ Windows เข้ากับอุปกรณ์พกพา (1:25)
-
เริ่มเรียนข้อควรรู้เกี่ยวกับการทดสอบแอพ iOS
-
เริ่มเรียนการรัน iOS Simulator (0:39)
-
เริ่มเรียนการรันแอพพลิเคชั่นทดสอบบน iOS Simulator (3:41)
-
เริ่มเรียนการรันแอพบนอุปกรณ์ iOS - การเชื่อมต่อครั้งแรก (0:52)
-
เริ่มเรียนการรันแอพบนอุปกรณ์ iOS - การกำหนด Team Profile (1:35)
-
เริ่มเรียนการรันแอพบนอุปกรณ์ iOS - การตรวจสอบ Apple ID และกำหนด Bundle Identifier (2:53)
-
เริ่มเรียนแก้ไขปัญหาที่พบในการทดสอบแอพบนอุปกรณ์ iOS - ลืมปลดล๊อคเครื่อง (0:56)
-
เริ่มเรียนแก้ไขปัญหาที่พบในการทดสอบแอพบนอุปกรณ์ iOS - Maximum Limited App for free profile reach (2:27)
-
เริ่มเรียนวิธีเปลี่ยนชื่อแอพพลิเคชั่น Android ใน Flutter (2:46)
-
เริ่มเรียนวิธีเปลี่ยนชื่อแอพพลิเคชั่น iOS ใน Flutter (2:12)
-
เริ่มเรียนแนะนำเว็บรวม Package สำหรับ Flutter (1:50)
-
เริ่มเรียนวิธีติดตั้ง Package ของ Google Flutter (2:03)
-
เริ่มเรียนรู้จักกับระบบ Icon ใน Android (2:32)
-
เริ่มเรียนวิธีสร้างไอคอนให้แอพ Android (4:22)
-
เริ่มเรียนวิธีสร้างไอคอนให้แอพ iOS (2:46)
-
เริ่มเรียนทดสอบกันหน่อย 😉 การกำหนดชื่อแอพใหม่ และ App Icon
-
เริ่มเรียนแนะนำก่อนเริ่ม Workshop
-
เริ่มเรียนการเตรียมโปรเจคให้พร้อม (3:56)
-
ดูตัวอย่างรู้จักกับ function Main() (2:49)
-
ดูตัวอย่างรู้จักกับ Widget ชิ้นส่วนสำคัญของแอพพลิเคชั่นใน Flutter (4:01)
-
เริ่มเรียนการประกาศใช้งาน Widget ในภาษา Dart (2:54)
-
เริ่มเรียนรู้จักกับคำสั่ง Import และการใช้งาน Widget ตัวแรก (5:03)
-
ดูตัวอย่างสร้างโครงแอพ ด้วย MaterialApp Widget (6:32)
-
เริ่มเรียนทำความเข้าใจ new keyword หายไปไหนจากภาษา Dart (2:19)
-
เริ่มเรียนเทคนิคการเขียนใช้งาน Widget หลายตัวซ้อนกัน (3:05)
-
เริ่มเรียนสร้างโครงหน้าแอพด้วย Scaffold Widget (4:50)
-
เริ่มเรียนกำหนด Theme ให้แอพพลิเคชั่น ผ่าน theme property (4:05)
-
เริ่มเรียนทดสอบกันหน่อย 😉 เริ่มต้นแอพแรกของเรา
-
เริ่มเรียนแนะนำ Stateless และ Stateful Widget แบบเข้าใจง่าย (6:08)
-
เริ่มเรียนสร้าง Stateless Widget ตัวแรกของเรากัน (4:23)
-
เริ่มเรียนสร้าง Stateful Widget ตัวแรกของเรากัน (4:56)
-
เริ่มเรียนวิธีใช้งาน Center Widget (6:16)
-
เริ่มเรียนรู้จักวิธีเริ่มใช้งาน Column Widget (5:36)
-
เริ่มเรียนวิธีกำหนดขนาด และสีสันของข้อความด้วย TextStyle (2:12)
-
เริ่มเรียนรู้จักและใช้งานปุ่มลอยได้ Floating Action Button (8:01)
-
เริ่มเรียนแทรกค่าตัวนับ ใช้งานใน Text Widget (4:48)
-
เริ่มเรียนรู้จักกับการสร้าง Interactivity ใน Widget (2:16)
-
เริ่มเรียนกำหนดการทำงานของโปรแกรม จาก Event ของปุ่มลอยได้ (4:23)
-
เริ่มเรียนรู้จักกับการทำงานของ State (2:25)
-
เริ่มเรียนอัพเดตหน้าแอพ ด้วย setState() method (4:26)
-
เริ่มเรียนอธิบาย: ทำไมเราควรเขียนโค้ดไว้ใน setState() (4:44)
-
เริ่มเรียนเทคนิค: เขียน method แบบฝัง หรือแยกจาก Widget ดี? (3:46)
-
เริ่มเรียนทดสอบกันหน่อย 😉 แอพ Number Counter
-
เริ่มเรียนแนะนำก่อนเริ่มเวิร์คชอป
-
ดูตัวอย่างดาวน์โหลดไฟล์ zip ของโปรเจคนี้
-
เริ่มเรียนการคืนสภาพโปรเจคให้กับ Flutter Package (4:15)
-
เริ่มเรียนการเตรียม Column Widget (1:30)
-
เริ่มเรียนการสร้าง List Widget จากโค้ดภาษา Dart (4:19)
-
เริ่มเรียนสร้าง function สำหรับสร้าง List Widget และปรับใช้งาน (5:42)
-
เริ่มเรียนใช้ ListView เบื้องต้นกัน (1:46)
-
เริ่มเรียนใช้ ListTile กับ ListView แบบ custom function (4:02)
-
เริ่มเรียนรู้จักกับ constructor method ของ ListView (2:23)
-
เริ่มเรียนสร้าง ListView ด้วยวิธีมาตรฐานกับ ListView.Builder (10:59)
-
เริ่มเรียนสร้าง Class Contact สำหรับเก็บข้อมูลผู้ติดต่อ (2:00)
-
เริ่มเรียนเทคนิค: วิธีการเขียนกำหนด Constructor parameter แบบย่อ (2:57)
-
เริ่มเรียนเรียกใช้งาน Class contact ในไฟล์ main (3:36)
-
เริ่มเรียนทดสอบกันหน่อย 😉 แอพ Contact List 1
-
ดูตัวอย่างรู้จักกับการจัดเก็บข้อมูลแบบ List (3:03)
-
เริ่มเรียนประกาศตัวแปร List (1:50)
-
เริ่มเรียนใช้ข้อมูล List กับ ListView.builder (6:10)
-
เริ่มเรียนเพิ่มรูปภาพเข้าไปใน Project (2:31)
-
เริ่มเรียนกำหนด pubspec เพื่อโหลดไฟล์รูปภาพเข้าแอพ (เรียกว่า Assets) (4:17)
-
เริ่มเรียนรู้จักกับ Image Widget (1:15)
-
เริ่มเรียนใส่รูปภาพใน ListTile (5:42)
-
เริ่มเรียนใช้ onTap ใน ListTile (1:50)
-
เริ่มเรียนติดตั้ง package: url-launchers (1:05)
-
เริ่มเรียนทำให้กดเลือก และโทรออกกัน (2:14)
-
เริ่มเรียนทดสอบกันหน่อย 😉 แอพ Contact List 2
-
ดูตัวอย่างแนะนำแอพ COVID-19 Today ส่วนที่ 1 (1:32)
-
ดูตัวอย่างรู้จักกับการทำงานระหว่าง Web API และ Mobile App (2:30)
-
เริ่มเรียนดู Web API ของกรมควบคุมโรค (1:44)
-
เริ่มเรียนดาวน์โหลดโปรเจคจาก Github (1:08)
-
เริ่มเรียนคืนสภาพโปรเจคที่ดาวน์โหลดมา (1:32)
-
เริ่มเรียนใช้ ListView และ ListTile สร้าง Layout (3:16)
-
เริ่มเรียนใช้งาน initState method รันโค้ดก่อน method build (2:54)
-
เริ่มเรียนติดตั้ง Http Package (1:13)
-
เริ่มเรียนรู้จักกับการทำงานแบบ Asynchronous ในแอพพลิเคชั่น (4:57)
-
เริ่มเรียนรู้จักวิธีใช้งาน Asynchronous ในภาษา Dart (4:11)
-
เริ่มเรียนสร้าง Async method (2:54)
-
เริ่มเรียนรู้จักกับ Future (3:09)
-
เริ่มเรียนเรียกข้อมูลจาก Web API ด้วย HTTP (5:20)
-
เริ่มเรียนสร้างไฟล์ Class สำหรับเก็บข้อมูล JSON (1:55)
-
เริ่มเรียนรู้จักกับ QuickType.io (3:40)
-
เริ่มเรียนวิธีใช้งานโค้ดจาก quicktype.io (2:19)
-
เริ่มเรียนแปลง JSON เป็น object ตัวแปรใน State (3:59)
-
เริ่มเรียนอัพเดต Widget ด้วยการ Setstate (4:27)
-
เริ่มเรียนตามหาต้นเหตุของ error confirmed null (6:11)
-
เริ่มเรียนให้ Dart เลือกแสดงค่าอื่นแทน null โดยใช้ ?? operator (2:40)
-
เริ่มเรียนเก็บงาน แสดงจำนวนผู้ป่วยที่หายแล้ว ยังอยู่ในโรงพยาบาล และเสียชีวิต (3:08)
-
ดูตัวอย่างแนะนำแอพ COVID-19 Today ส่วนที่ 2 (1:33)
-
เริ่มเรียนเพิ่ม LinearProgressIndicator ลงใน Column (6:06)
-
เริ่มเรียนใช้ If else ควบคุมการแสดง LinearProgressIndicator (9:58)
-
เริ่มเรียนประกาศใช้งาน FutureBuilder ในหน้าแอพ (7:29)
-
เริ่มเรียนการใช้ builder และ snapshot แสดง widget ตามการทำงานของ async method (14:53)
-
เริ่มเรียนการใช้งาน data จาก snapshot (9:26)
-
เริ่มเรียนสร้างตัวแสดงยอดสถิติของเราเอง (12:19)
-
เริ่มเรียนกำหนดและจัดเรียงยอดสถิติใน Widget (10:08)
-
เริ่มเรียนสร้าง Widget StatBox เพื่อใช้ซ้ำ (5:25)
-
เริ่มเรียนกำหนดค่า property ให้ Widget เพื่อใ้ช้งาน (9:18)
-
เริ่มเรียนกำหนดหน้าตาของ StatBox และใช้ข้อมูล (6:12)
-
เริ่มเรียนแทนที่ยอดสถิติเดิม ด้วย Statbox (7:15)
-
เริ่มเรียนสร้างระยะห่างระหว่าง Widget ใน Column ด้วย SizedBox (2:12)
-
เริ่มเรียนติดตั้ง package สำหรับการแสดงจำนวนหลักพัน (2:05)
-
เริ่มเรียนจัด Format ตัวเลขหลักพันด้วย NumberFormat (4:52)
-
เริ่มเรียนกำหนดสิทธิ์ Permission เพื่อเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตเวลาทำงานจริง (3:15)
-
เริ่มเรียนการติดตั้ง Flutter Automation package สำหรับการสร้างไฟล์ Android (1:06)
-
เริ่มเรียนการสร้างไฟล์ Key store สำหรับ Android (4:04)
-
เริ่มเรียนตรวจดูไฟล์ key properties และ build.gradle ที่โดนแก้ไขด้วย Flutter Automation (3:33)
-
เริ่มเรียนการสร้างไฟล์ Android App Bundle (AAB) (2:16)
-
เริ่มเรียนวิธีการสร้างไฟล์ Android Application Package (APK) แบบต่างๆ (2:06)
-
เริ่มเรียนเปิดไฟล์ Xcode Workspace และเช็ค Bundle Identifier (2:07)
-
เริ่มเรียนสร้าง Bundle ID บน Apple Developer Program (2:55)
-
เริ่มเรียนวิธีสั่ง Archive โปรเจคด้วย Xcode และแสดงใน Organizer (3:04)
-
เริ่มเรียนวิธี Validate Archive ด้วย Organizer (3:27)
-
เริ่มเรียนวิธีสร้างโปรไฟล์ของ App เราบน App Store Connect (5:04)
-
เริ่มเรียนการ Validate App หลังจากสร้างโปรไฟล์ App บน App Store Connect (1:26)
-
เริ่มเรียนวิธีสั่ง Distribute App จาก Organizer (2:20)
-
เริ่มเรียนวิธีเลือก Build ให้กับโปรไฟล์ App ใน Apple store connect (2:46)
-
ดูตัวอย่างแนะนำแอพ My Timeline (2:57)
-
เริ่มเรียนClone โปรเจค (1:29)
-
เริ่มเรียนเพิ่ม Icon Button ใน App Bar (3:13)
-
เริ่มเรียนรู้จักกับ Navigation และระบบ Route (2:05)
-
เริ่มเรียนเขียนเรียกใช้ Navigator เพื่อสร้างการเปิดหน้าเพจ (5:07)
-
เริ่มเรียนสร้าง และแนะนำการจัดเก็บหน้า New Post Page (3:02)
-
เริ่มเรียนใช้ Widget New Post Page กับคำสั่ง Navigator push (2:37)
-
เริ่มเรียนรู้จักกับ Form และการรับข้อมูล (2:29)
-
เริ่มเรียนสร้างแบบฟอร์มในหน้า New Post Page (3:10)
-
เริ่มเรียนสร้างปุ่มสำหรับยืนยันการสร้างโพส (1:19)
-
เริ่มเรียนกางปุ่มให้ชิดขอบหน้าจอด้านล่าง (5:29)
-
เริ่มเรียนจัดรูปแบบ TextFormField (5:36)
-
เริ่มเรียนกำหนดกลไกปุ่มโพส ให้เปิดย้อนกลับมาหน้าแรกได้ (2:30)
-
เริ่มเรียนสร้าง ListView สำหรับแสดงโพส (1:54)
-
เริ่มเรียนเริ่มต้นสร้าง Widget สำหรับแสดงโพส (3:21)
-
เริ่มเรียนกำหนดสีและขนาด Text เพื่อกำหนดความสำคัญ (3:47)
-
เริ่มเรียนสร้างช่องแบ่งระหว่างโพสใน ListView (6:54)
-
เริ่มเรียนปรับ ListView ให้หร้อมสำหรับการใช้กับข้อมูลจริง (1:45)
-
เริ่มเรียนแนะนำส่วนที่ 2
-
ดูตัวอย่างรู้จักกับ State Management (3:20)
-
ดูตัวอย่างรู้จักกับ State Management- Provider (2:51)
-
เริ่มเรียนติดตั้ง Package Provider (1:51)
-
เริ่มเรียนรู้จักกับ Provider (1:38)
-
เริ่มเรียนสร้าง Provider สำหรับข้อมูล Posts (2:55)
-
เริ่มเรียนสร้าง get method เพื่อให้ส่วนอื่น เข้าถึงข้อมูลใน Provider (1:13)
-
เริ่มเรียนเขียนสร้าง fat arrow function ครั้งแรก (3:42)
-
เริ่มเรียนสร้างฟังก์ชั่นเพื่ออัพเดตข้อมูลใน Provider (2:07)
-
เริ่มเรียนรู้จักกับ Multiple Provider (1:30)
-
เริ่มเรียนกำหนด MultiProvider ครอบ Widget ที่ต้องการในแอพ (5:58)
-
เริ่มเรียนปรับการตั้งค่า Provider เป็นรูปแบบ Fat Arrow Function (2:53)
-
เริ่มเรียนรู้จักกับ Consumer (1:38)
-
เริ่มเรียนประกาศ Consumer เพื่อใช้ข้อมูลจาก Provider ในการอัพเดตข้อมูล (8:10)
-
เริ่มเรียนทดสอบการทำงานของ Provider และ Consumer ตอนเริ่มการทำงานของแอพ (3:12)
-
เริ่มเรียนสร้างกลไกการตรวจสอบข้อมูลใน Form ด้วย FormKey (6:37)
-
เริ่มเรียนสร้าง Validator Function ในการตรวจสอบข้อมูลของ TextFormField (7:58)
-
เริ่มเรียนเช็คความยาวต่ำสุดของข้อความที่กรอกใน TextFormField (3:53)
-
เริ่มเรียนใช้ TextEditingController ในการดึงข้อความออกจาก TextFormField (5:32)
-
เริ่มเรียนเพิ่มข้อความใหม่ ลงไปเก็บไว้ใน Provider (5:21)
-
เริ่มเรียนทดสอบการทำงานของ Provider ในการเพิ่มข้อมูลเข้า List (7:49)
-
เริ่มเรียนใช้ Template ที่เราออกแบบให้ ListView กับข้อมูลจาก Provider (4:39)
-
เริ่มเรียนกำหนดให้โพสใหม่แสดงเป็นรายการแรกใน List (4:10)
-
เริ่มเรียนแนะนำส่วนที่ 3
-
เริ่มเรียนสร้าง Post Class เป็นตัวแทนข้อมูลโพสในระบบ (2:40)
-
เริ่มเรียนปรับ Provider ให้มาใช้ Post Class แทนข้อความแบบเดิม (6:11)
-
เริ่มเรียนปรับให้ ListView ใช้ข้อมูลในรูปแบบของ Post แทนข้อความ (4:45)
-
เริ่มเรียนติดตั้ง package time ago (1:27)
-
เริ่มเรียนทำให้ Post สามารถแสดงข้อความบอกช่วงเวลาที่สร้างโพสกับปัจจุบันได้ (7:55)
-
เริ่มเรียนเรียกใช้ข้อความ time ago จากข้อมูล Post (6:15)
-
เริ่มเรียนโหลดข้อความภาษาไทยให้กับ TimeAgo Package (3:11)
-
เริ่มเรียนแปลงช่วงเวลาที่โพสเอาไว้ เป็นภาษาไทย (5:35)
-
เริ่มเรียนแนะนำส่วนที่ 4
-
เริ่มเรียนเข้าใจความสำคัญของฐานข้อมูลแบบเก็บภายในแอพ (Local Database) (3:13)
-
เริ่มเรียนเข้าใจรูปแบบการเก็บและเรียกใช้ฐานข้อมูลภายในแอพ (3:43)
-
ดูตัวอย่างเข้าใจแนวคิดการจัดเก็บข้อมูลแบบ NoSQL (3:04)
-
เริ่มเรียนติดตั้ง package Sembast และ path_provider (2:30)
-
เริ่มเรียนสร้างไฟล์ตัวแทนในการจัดการกับฐานข้อมูลโดยตรง (2:33)
-
เริ่มเรียนรู้จักกลไกการเข้าถึงไฟล์ในแอพ (3:36)
-
เริ่มเรียนสร้างคำสั่งที่ใช้ในการเปิดไฟล์ฐานข้อมูล (7:55)
-
เริ่มเรียนเรียกใช้ dbFactory เพื่อเตรียมเชื่อมต่อไปที่ไฟล์ database (1:37)
-
เริ่มเรียนทำการสั่งเปิดการเชื่อมต่อ เพื่อเอาตัวแทนของ Database มาเตรียมใช้ในแอพ (4:00)
-
เริ่มเรียนสร้าง function save สำหรับการบันทึกข้อมูล (2:49)
-
เริ่มเรียนรู้จักกับการจัดเก็บข้อมูลอย่างเป็นระเบียบ ภายในไฟล์ Database (1:58)
-
เริ่มเรียนการใช้ StoreFactory อ้างอิงถึงชุดข้อมูลที่อยู่ใน Database (7:51)
-
เริ่มเรียนเรียนใช้คำสั่งบันทึกข้อมูล ใน Post Provider (3:28)
-
เริ่มเรียนทดสอบการทำงานของ save function (12:13)
-
เริ่มเรียนการสั่งปิดการเชื่อมต่อไปที่ฐานข้อมูล เมื่อใช้งานเสร็จแล้ว (1:46)
-
เริ่มเรียนย้ายส่วนสร้าง JSON ไปไว้ใน PostModel (5:44)
-
เริ่มเรียนวิธีสั่งอ่านข้อมูลจาก Database (6:00)
-
เริ่มเรียนทดลองเรียกใช้งานคำสั่ง loadAllPosts (4:36)
-
เริ่มเรียนเข้าใจการทำงานของ Record Snapshot (2:41)
-
เริ่มเรียนเขียนคำสั่งแปลงข้อมูลจาก Record ของ Database เป็นข้อมูล Post (7:45)
-
เริ่มเรียนทดสอบคำสั่งแปลงข้อมูลจาก Database เป็นข้อมูล Post (5:46)
-
เริ่มเรียนแปลงข้อความ DateTime จาก Database กลับเป็นข้อมูลที่ใช้ได้ในแอพ (2:40)
-
เริ่มเรียนทดสอบการแปลงข้อมูล DateTime จาก Database มาใช้ในแอพ (4:49)
-
เริ่มเรียนโหลดข้อมูล Post จาก Database มาไว้ใน Provider หลังจากบันทึกโพสแล้ว (3:56)
-
เริ่มเรียนแนะนำขั้นตอนการโหลดข้อมูลตอนเปิดแอพ (2:12)
-
เริ่มเรียนสร้างคำสั่งโหลดข้อมูล Post มาไว้ใน Provider (3:38)
-
เริ่มเรียนเรียกข้อมูลจาก Database ตอนเปิดหน้าแรก (6:00)
-
เริ่มเรียนการสั่งเรียงข้อมูลก่อนเอากลับมาจาก Database (Sort) (6:29)
-
เริ่มเรียนทดสอบ การสั่งเรียงข้อมูล SortOrder (2:28)
-
เริ่มเรียนแนะนำส่วนที่ 5
-
เริ่มเรียนเข้าใจการทำงานของ Tab Navigator (1:35)
-
เริ่มเรียนแยกส่วนหน้า HomePage ออกมาเป็น Widget ของตัวเอง (5:37)
-
เริ่มเรียนเทคนิคการเข้าถึงโค้ด และการสั่งเปิด dialog แบบ full screen (5:25)
-
เริ่มเรียนทดลองสร้าง TabController และ TabBarView (6:08)
-
เริ่มเรียนสร้าง Tab menu (5:32)
-
เริ่มเรียนกำหนดหน้า HomePage ให้กับ Tab แรก (2:00)
-
เริ่มเรียนปรับ Tab Menu ให้เป็นหน้า Setting (1:22)
-
เริ่มเรียนสร้างหน้า Setting และกำหนดใส่ใน Tab Menu (4:06)
-
เริ่มเรียนสร้างคำสั่งลบข้อมูล Post ใน Database (5:02)
-
เริ่มเรียนอัพเดตข้อมูลใน Provider หลังจากล้างข้อมูลใน Database แล้ว (2:56)
-
เริ่มเรียนเรียกใช้คำสั่งลบข้อมูลจากหน้า Setting Page (1:59)
-
เริ่มเรียนทดสอบการลบข้อมูล และสังเกตจุดบกพร่องของแอพ (1:40)
-
เริ่มเรียนแนะนำคำสั่ง ShowDialog (5:16)
-
เริ่มเรียนวิธีสร้าง AlertDialog และการใส่ปุ่มควบคุม (5:38)
-
เริ่มเรียนสร้างคำสั่งปิด และล้างข้อมูลเมื่อกดยืนยันจาก Dialog (4:19)
-
เริ่มเรียนแนะนำส่วนที่ 6
-
เริ่มเรียนเข้าใจการจัดเก็บข้อมูลแบบ SQLite ของ Sembast (2:03)
-
เริ่มเรียนติดตั้ง Package Sqflite และ sembast_sqflite (1:15)
-
เริ่มเรียนเข้าใจการสืบทอดคุณสมบัติของ Class (Inheritance) (2:31)
-
เริ่มเรียนสร้าง Class ที่สืบทอดคุณสมบัติ PostDB (2:32)
-
เริ่มเรียนเขียน override คำสั่ง openDatabase ให้เปิดใช้งานแบบ SQLite (11:19)
-
เริ่มเรียนรู้จัก และทำความเข้าใจการ refactor (3:23)
-
เริ่มเรียนลอง Refactor โค้ดที่เรียกใช้ PostDB ใน Provider (5:23)
-
เริ่มเรียนลอง Refactor ปรับการประกาศชื่อ PostDB ใหม่ (2:57)
-
เริ่มเรียนลองส่งต่อชื่อ Database จาก PostDBSQLite ไปให้ PostDB ในฐานะ super class (3:06)
-
เริ่มเรียนสลับใช้งาน PostDB SQLite แทน PostDB ใน PostProvider (2:01)
-
ดูตัวอย่างแนะนำส่วนที่ 7
-
เริ่มเรียนรู้จักกับการจัดเก็บข้อมูลใน SQLite (2:29)
-
เริ่มเรียนรู้จักกับภาษา SQL ในการจัดการข้อมูล Database (1:38)
-
เริ่มเรียนสร้างไฟล์จัดการข้อมูลด้วยภาษา SQL (2:25)
-
เริ่มเรียนสร้างส่วนการเปิดไฟล์ Database ด้วยภาษา SQL (4:40)
-
เริ่มเรียนวิธีแก้ไขปัญหาการเรียกใช้ชื่อ method ซ้ำกันจาก package และของเราเอง (4:50)
-
เริ่มเรียนรันคำสั่งสร้าง table ในฐานข้อมูลหลังจากสร้างไฟล์เสร็จ (6:10)
-
เริ่มเรียนสร้างคำสั่ง save, loadAllPost และ ClearData (3:57)
-
เริ่มเรียนใช้ภาษา SQL เพิ่มข้อมูลลง Database (7:18)
-
เริ่มเรียนใช้ภาษา SQL อ่านข้อมูลขึ้นมาจาก Database และการเพิ่ม id (6:22)
-
เริ่มเรียนแปลงข้อมูลที่ได้จาก Database ให้อยู่ในรูปแบบตัวแปร Post (6:27)
-
เริ่มเรียนการลบข้อมูลใน SQLite ด้วยคำสั่ง SQL (2:21)
-
เริ่มเรียนสลับจากการใช้งานฐานข้อมูลแบบ NoSQL เป็น SQLite (2:41)
-
เริ่มเรียนแนะนำแอพแสกน ส่วนที่ 1
-
เริ่มเรียนเตรียมโปรเจค (3:44)
-
เริ่มเรียนสร้างปุ่ม Scan แบบลอยได้ด้วยตัวเอง กับ FloatingActionButton (13:05)
-
เริ่มเรียนติดตั้ง flutter_barcode_scanner package (2:12)
-
เริ่มเรียนกำหนดค่าเพิ่มเติมในโปรเจคแอพ iOS เพื่อให้สามารถใช้งาน package ได้ (6:42)
-
เริ่มเรียนกำหนดค่าขออนุญาตให้กล้องถ่ายรูป Camera Usage Description ในไฟล์ Info.plist ของแอพ iOS (2:17)
-
เริ่มเรียนเขียนคำสั่งเรียกใช้ barcode scanner จากการกดปุ่มแสกน (5:53)
-
เริ่มเรียนทดสอบแสกน Barcode สินค้า และ QR Code (5:22)
-
เริ่มเรียนกำหนดสี, ข้อความปุ่มยกเลิก, และการเปิดใช้งาน flash (5:37)
-
เริ่มเรียนสร้าง Card UI เพื่อเตรียมแสดงข้อมูลที่ได้จากการแสกน (7:31)
-
เริ่มเรียนปรับขนาด Card UI ด้วย Sized Box (3:26)
-
เริ่มเรียนนำข้อมูลที่แสกนได้ มาแสดงใน Card (5:39)
-
เริ่มเรียนจัดการกรณีผู้ใช้ยกเลิกการแสกน (4:30)
-
เริ่มเรียนแนะนำแอพแสกน ส่วนที่ 2
-
เริ่มเรียนรู้จักกับ URL Scheme (2:24)
-
เริ่มเรียนรู้จักกับ URL Scheme ของ Youtube (1:20)
-
เริ่มเรียนวิธีตรวจเช็ค link YouTube จาก QR code (3:26)
-
เริ่มเรียนทดสอบการอ่านลิ้งค์ Youtube จาก QR Code (2:30)
-
เริ่มเรียนแสดงปุ่มเปิดแอพ Youtube ถ้าพบว่าเป็น link Youtube (5:58)
-
เริ่มเรียนติดตั้งแพคเกจ url_launcher (1:42)
-
เริ่มเรียนเขียนคำสั่งเปิดแอพ Youtube จากลิ้งค์ที่แสกนได้จาก QR Code (2:25)
-
เริ่มเรียนทดสอบเปิดคลิปวิดีโอบนแอพ Youtube จาก link ที่แสกนได้จาก QR Code (1:59)
-
เริ่มเรียนวิธีเปิดคลิปวิดีโอ Youtube จาก Link ที่แสกนได้บนแอพ iOS (6:07)
-
เริ่มเรียนรู้จักกับ URL Scheme ของแอพ Line (0:57)
-
เริ่มเรียนแสดงปุ่มเปิดแอพ LINE ถ้าพบว่าเป็น link เกี่ยวข้องกับ LINE (7:10)
-
เริ่มเรียนทดสอบเปิดแอพ LINE จากลิ้งค์ที่แสกนได้จาก QR Code (2:45)
-
เริ่มเรียนแนะนำ Workshop
-
เริ่มเรียนดาวน์โหลด และตั้งค่าโปรเจค (1:17)
-
เริ่มเรียนสร้าง tab menu (4:01)
-
เริ่มเรียนสร้างหน้าลงทะเบียน (2:57)
-
เริ่มเรียนวาง Layout ของแบบฟอร์มลงทะเบียน (8:00)
-
เริ่มเรียนสร้างส่วนสำหรับกดถ่าย และแสดงรูปผู้ลงทะเบียน (3:37)
-
เริ่มเรียนรู้จักกับการใช้งาน InkWell Widget (1:41)
-
เริ่มเรียนสร้างเอฟเฟค Ink และ InkWell สำหรับบริเวณถ่ายรูปลงทะเบียน (7:30)
-
เริ่มเรียนรู้จักกับปัญหา Bottom Overflow ที่เกิดจากการเรียกใช้ Keyboard (2:05)
-
เริ่มเรียนทดสอบการกรอกแบบฟอร์ม และปัญหา Overflow (1:25)
-
เริ่มเรียนแก้ไขปัญหา Bottom Overflow ด้วย SingleChildScrollView (3:31)
-
เริ่มเรียนสร้าง Class สำหรับเก็บข้อมูล จากแบบฟอร์มลงทะเบียน (2:06)
-
เริ่มเรียนสร้าง FormKey เพื่อควบคุมการทำงานของ Form Widget (1:40)
-
เริ่มเรียนการดึงข้อมูลออกจาก TextFormField มาใช้งาน (0:40)
-
เริ่มเรียนวิธีเก็บข้อมูลจาก Form ทั้งหมด ลง Object ด้วย onSaved ของ TextFormField (5:30)
-
เริ่มเรียนทดสอบเก็บข้อมูลจากแบบฟอร์มด้วย onSave (5:22)
-
เริ่มเรียนทบทวน การตรวจสอบข้อมูลด้วย Validator (0:56)
-
เริ่มเรียนติดตั้ง package form_field_validator (1:17)
-
เริ่มเรียนตรวจจับข้อมูลที่ไม่ได้กรอกลงแบบฟอร์มด้วย RequiredValidator (6:34)
-
เริ่มเรียนตรวจจับการกรอก email ผิดรูปแบบ ด้วย EmailValidator และ MultiValidator (5:41)
-
เริ่มเรียนแสดงแป้นคีย์บอร์ดสำหรับพิมพ์อีเมลล์ (2:49)
-
เริ่มเรียนรู้จักกับ Firebase (4:29)
-
เริ่มเรียนวิธีลงทะเบียนเข้าใช้งานระบบ Firebase (1:21)
-
เริ่มเรียนรู้จักกับรูปแบบของโปรเจค Firebase (2:10)
-
เริ่มเรียนวิธีสร้างโปรเจค Firebase ใหม่สำหรับใช้งานกับแอพพลิเคชั่น (1:42)
-
เริ่มเรียนรู้จักกับการนำระบบ Firebase มาใช้งานในโปรเจคโมบายล์แอพพลิเคชั่น Flutter ของเรา (1:32)
-
เริ่มเรียนติดตั้ง package Firebase_core (1:00)
-
เริ่มเรียนวิธีการตั้งค่าใช้งาน Firebase บนระบบ Android (7:52)
-
เริ่มเรียนวิธีการตั้งค่าใช้งาน Firebase บนระบบ iOS (8:00)
-
เริ่มเรียนรู้จักการรองรับ กลไกเริ่มต้นการทำงานของ Firebase ด้วย Future Builder (2:08)
-
เริ่มเรียนเริ่มต้นใช้งาน Firebase ด้วย FutureBuilder (13:20)
-
เริ่มเรียนการเปิดใช้งาน Cloud FireStore บนโปรเจค Firebase (2:29)
-
เริ่มเรียนติดตั้ง cloud_firestore (0:58)
-
เริ่มเรียนเรียกใช้งาน Cloud Firestore เพื่อบันทึกข้อมูลในหน้าลงทะเบียน (5:55)
-
เริ่มเรียนทดสอบการบันทึกข้อมูลลง Cloud Firestore (2:55)
-
เริ่มเรียนล้างแบบฟอร์มเมื่อบันทึกข้อมูลเสร็จ (2:45)
-
เริ่มเรียนรู้จักกับการทำงานของระบบกล้องถ่ายรูปที่เรียกใช้ได้ผ่านแอพ (2:26)
-
เริ่มเรียนรู้จักกับ Permission (3:51)
-
เริ่มเรียนติดตั้ง package image_picker (0:57)
-
เริ่มเรียนการตั้งค่าแอพ Android สำหรับการใช้งานกล้องถ่ายรูป (1:35)
-
เริ่มเรียนการตั้งค่าแอพ iOS สำหรับการใช้งานกล้องถ่ายรูป (1:42)
-
เริ่มเรียนวิธีเรียกใช้งานกล้องถ่ายรูป ด้วย Image Picker และเช็คที่อยู่ของไฟล์ (4:32)
-
เริ่มเรียนทดสอบการใช้งานกล้องถ่ายรูปในแอพ Flutter (6:28)
-
เริ่มเรียนแสดงรูปภาพที่ถ่ายได้ ด้วย Image Widget (8:18)
-
เริ่มเรียนทดสอบการทำงานหลังจากถ่ายรูป และกลับเข้ามาในแอพ (3:53)
-
เริ่มเรียนรู้จักกับแนวทางในการจัดการไฟล์ในแอพพลิเคชั่น (2:09)
-
เริ่มเรียนรู้จักกับ Firebase Cloud Storage (2:07)
-
เริ่มเรียนติดตั้ง pacakge firebase_storage (0:32)
-
เริ่มเรียนวิธีสร้าง storage bucket บน Firebase (1:30)
-
เริ่มเรียนรู้จักกับคำสั่งการใช้งาน Cloud Storage และอัพโหลดไฟล์ (4:19)
-
เริ่มเรียนสร้างและเรียก function สำหรับอัพโหลดไฟล์รูปขึ้น Firebase Cloud Storage (5:33)
-
เริ่มเรียนทดสอบถ่ายและอัพโหลดรูปภาพขึ้น Firebase Cloud Storage (4:23)
-
เริ่มเรียนกำหนด Rule สำหรับอัพโหลดไฟล์แบบไม่ต้อง login บน Firebase Cloud Storage (3:40)
-
เริ่มเรียนทดสอบอัพโหลดไฟล์รูปขึ้น Cloud Storage (2:23)
-
เริ่มเรียนการกำหนดที่อยู่ของไฟล์ที่อัพโหลด (4:20)
-
เริ่มเรียนแสดงป๊อปอัพสถานะการจัดเก็บข้อมูล (7:06)
-
เริ่มเรียนป้องกันการปิดป๊อปอัพโดยผู้ใช้ (4:18)
-
เริ่มเรียนเคลียร์ข้อมูลรูปภาพหลังอัพโหลดเสร็จแล้ว (4:19)
-
เริ่มเรียนทำการบันทึกชื่อไฟล์ไปที่ firestore เพื่อเชื่อมโยงไฟล์รูปกับข้อมูลผู้ลงทะเบียน (3:23)
คำถามที่ถามกันบ่อย
การชำระเงินแบบโอนเข้าบัญชีธนาคาร
หากต้องการชำระโดยการโอนเงินเข้าบัญชีธนาคาร สามารถโอนจำนวนเงินเข้าบัญชีธนาคารด้านล่าง
- ธนาคารกสิกรไทย
- เลขที่บัญชี 743-2-17886-9
- ชื่อบัญชี บริษัท แอมอราวน์จำกัด
จากนั้นส่งหลักฐานการโอนเงิน พร้อมรหัสโปร มาที่ช่องทางด้านล่าง
- ทักเฟสบุ๊ค https://m.me/nextflow
- หรือคลิกเพื่อส่ง Email: [email protected]
ทางเราจะดำเนินการส่งคูปองลงทะเบียนให้ใน 24 ชั่วโมง ในเวลาทำการ 9:00 - 22:00 น. ค่ะ
สอบถามเพิ่มเติม กดลิ้งค์โทร 083-071-3373 ได้เลยค่ะ
การออกใบเสร็จในรูปแบบบริษัท
หากต้องการออกใบเสร็จในรูปแบบบริษัท หรือหน่วยงาน จะไม่สามารถใช้สิทธิ์โปรโมชั่นได้ สามารถชำระค่าลงทะเบียนในราคา 3,745 บาท (รวมภาษีมูลค่าเพิ่มแล้ว)
สามารถกรอกข้อมูลเพื่อให้ทางเราออกใบเสนอราคา และส่งข้อมูลการชำระเงินให้ได้ที่ลิ้งค์ต่อไปนี้
ขอใบเสนอราคาคอร์สออนไลน์ Google Flutter
สอบถามเพิ่มเติม กดลิ้งค์โทร 083-071-3373 ได้เลยค่ะ